คอลัมน์สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
|
![]() |
ธัญลักษณ์ นวลักษณกวี สัมภาษณ์ |
![]() |
ปาฐกงานปาฐกถามูลนิธิโกมลคีมทอง เนื่องในวาระครบรอบ 50 ปี มูลนิธิโกมลคีมทอง พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ภูมิคุ้มกันชีวิต “กายปลอดเชื้อ ใจปลอดทุกข์” จากหนังสือ TRUST MAGAZINE ISSUE 52 |
![]() |
ชีวิตที่สงบเย็นและเป็นประโยชน์ จากหนังสือ a day |
![]() |
จากหนังสือ เรียนรู้คุณค่าแห่งชีวิต การเรียนรู้เป็นธรรมชาติของมนุษย์ |
![]() |
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ไฟป่า พลังจิตอาสา และจิตวิญญาณธรรมชาติ สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ปลูกรักและศรัทธาเพื่อฟื้นฟูป่าภูหลง สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
วารสาร “ผู้ไถ่” ในมุมที่ พระไพศาล วิสาโล รู้จัก สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ม็อบพระ ปะทุวิกฤตศรัทธา สมเด็จช่วง – มหาเถรฯ - ธรรมกาย สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ชี้ทางเดินแห่งชีวิตด้วยธรรมะ พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
มุมมองพุทธต่อกระแสหนังอาบัติ ข่าวไทยพีบีเอส วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๘ สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
รายการชุบแป้งทอด : เกาะชายผ้าเหลือง ไทยพีบีเอส วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๘ สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
จิตวิญญาณ สัมภาษณ์
พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ปฏิรูปคณะสงฆ์ ปรับปรุงจากสัมภาษณ์รายการตอบโจทย์ |
“พระไพศาล วิสาโล” “ธรรมกาย” เป็นที่เชิดหน้าชูตาของ “มหานิกาย” สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
![]() |
อะไรก็เสื่อมได้ ถ้าไม่มีผู้ปฏิบัติและผู้สอนที่ถูกต้อง... กะเทาะเปลือกศาสนา พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ปฏิรูปสงฆ์ไม่ได้ก็อย่าคิดไปปฏิรูปประเทศ โพสต์ทูเดย์ |
![]() |
สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล วิพากษ์พุทธผู้หลงทาง สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
"จะตายก็เป็นเช่นนั้นเอง" มรณสติจากหลวงพ่อคำเขียน สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
Buddhist perspectives on end of life care – a conversation with Phra Paisal Visalo Author: Dr Suresh Kumar |
![]() |
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีของพระยันตระ สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
มงคลที่แท้ของชีวิต พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
รู้เขา รู้เรา...เข้าใจโลก เช่นที่เป็น...อยู่...คือ... พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
คำเตือนจาก “พระไพศาล” ถ้าไม่ปฏิรูปวงการสงฆ์ ระวังถึงจุดเสื่อม สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
ผ่าวงการสงฆ์ พ.ศ.2556 ยุคผ้าเหลืองเสื่อมสุดขีด…? สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล ปัญหาของคณะสงฆ์ตอนนี้ เป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง ไม่ได้อยู่ที่ตัวบุคคลเท่านั้นเพราะโครงสร้างการปกครองของคณะสงฆ์ มีต้นแบบมาจากสมัยรัชกาลที่ 5 คือ 100 กว่าปีมาแล้ว ขณะที่การปกครองบ้านเมืองในรอบ 100 ปีนั้น มีการปฏิรูปและเปลี่ยนแปลงไปมาก แต่โครงสร้างของคณะสงฆ์ซึ่งถอดแบบมาจากยุครัชกาลที่ 5 แทบไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเลย เรื่องทั้งหมดไปกระจุกที่มหาเถรสมาคม ซึ่งท่านก็ไม่มีกำลังที่จะดูแลทั่วถึง ฉะนั้น จึงต้องมีการปฏิรูปให้มีการกระจายอำนาจมากขึ้น เป็นการปฏิรูปเพื่อส่งเสริมเรื่องการศึกษาของคณะสงฆ์ ไม่มุ่งใช้อำนาจ เพราะใช้อำนาจก็ไม่ได้ผล |
![]() |
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล จดหมายข่าวอาทิตย์อัสดง (เพื่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย) |
![]() |
รู้จักสุขแท้ รู้วิธีแก้โลกร้อน วารสารสื่อพลัง เราต้องตระหนักว่า ปัจจุบัน วิถีชีวิตและการบริโภคของเรามีส่วนทำลายธรรมชาติมาก ถ้าเราไม่ยอมปรับเปลี่ยนการบริโภคของเรา ก็ยากจะหยุดยั้งการทำลายธรรมชาติได้ ทีนี้เราจะปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตได้อย่างยั่งยืนก็ต่อเมื่อเรามีทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับความสุข คือเห็นว่าความสุขไม่ได้เกิดจากการเสพ การมี การบริโภคมากๆ เราต้องเห็นชัดว่าความสุขที่แท้อยู่ที่ใจ เกิดจากใจที่สงบ รู้จักพอ จิตใจไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิ หรือเป็นสุขเมื่อได้ช่วยเหลือผู้อื่น หรือได้ทำความดี เช่น เป็นจิตอาสา เราต้องเปิดโอกาสให้จิตใจได้สัมผัสกับความสงบที่ลึกซึ้ง ที่ประเสริฐ จากสมาธิ จากการอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ จากการทำความดี มีกัลยาณมิตรแวดล้อม มีครอบครัวที่อบอุ่น มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน และที่สำคัญคือได้เห็นความจริงของชีวิต จนไม่หวั่นไหวต่อความผันผวนปรวนแปรที่เกิดขึ้น เราต้องเปิดโอกาสให้ตนเองได้สัมผัสความสุขจากชีวิตที่เรียบง่าย เราจึงจะรู้สึกว่า ไม่ต้องมีอะไรมากก็มีความสุขได้ เกิดความรู้จักพอ |
![]() |
คุณธรรมส่องนำความรัก กับ พระไพศาล วิสาโล จดหมายข่าวศูนย์คุณธรรม ความรักที่ถูกต้องจะชุบชูจิตใจให้มีกำลังใจ ให้มีความเสียสละ ขณะเดียวกันหากเราต้องการให้คนอื่นรักเรา ก็ต้องมอบสิ่งเหล่านั้นให้แก่เขาด้วย |
NEW HEART NEW WORLD : พระไพศาล วิสาโล บทความที่ตีพิมพ์ในหนังสือ New Heart New World อาตมาคิดว่าแม้คนเราห่างไกลจากศาสนาหรือไม่นับถือศาสนาเลยแต่ก็ไม่ได้แปลว่าเขาห่างไกลจากความดี |
|
![]() |
พระไพศาล วิสาโล Cover Story |
![]() |
พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
มองทะลุกรอบพุทธ กระเทาะแก่นศาสนา สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล ปัญหาอย่างหนึ่งที่เกิดกับชาวพุทธไทยเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะชนชั้นกลางก็คือ มีความเป็นปัจเจกนิยมสูงมาก ปัจเจกนิยมหมายความว่า สนใจแต่เรื่องตัวเอง ไม่สนใจเรื่องสังคม ซึ่งเมื่อปฏิบัติอย่างสุดขั้วก็กลายเป็นคนเห็นแก่ตัว ไม่สนใจว่าสังคมจะเป็นอย่างไร และไม่สนใจจะช่วยเหลือเอื้อเฟื้อใคร ใครเดือดร้อนก็บอกว่าเป็นกรรมของเขา ฉันไม่ช่วย ขืนช่วยจะกลายเป็นการแทรกแซงกรรมของเขา หรือทำให้เจ้ากรรมนายเวรของเขามาเล่นงานฉัน |
![]() |
นิตยสารMSociety "เราต้องเริ่มต้นที่ตัวเรา แล้วแสวงหากัลยาณมิตร อย่าลืมว่าทะเลเกิดจากน้ำทีละหยดมารวมกัน เริ่มตั้งแต่ต้นน้ำจนกลายเป็นลำห้วย ในที่สุดก็กลายเป็นแม่น้ำ จากแม่น้ำกลายเป็นมหาสมุทร สายน้ำทุกสายรวมทั้งมหาสมุทรเริ่มจากหยดน้ำทีละหยด ความเปลี่ยนแปลงก็เช่นกัน ล้วนเริ่มจากคนจำนวนน้อย ค่อยๆ รวมตัวกันเป็นกลุ่มใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ที่จริงพุทธศาสนาที่ยั่งยืนมาทุกวันนี้มีคนนับถือกัน 500 ล้านคน เริ่มจากคนๆ เดียว นั้นคือพระพุทธเจ้า ดังนั้นอย่ากลัวว่าน้ำน้อยแพ้ไฟ ถ้าน้ำน้อยรวมกลุ่มกันก็สามารถมีพลังที่จะดับไฟได้" |
รายการเสียงประชาชนเปลี่ยนประเทศไทย |
|
สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล สมมุติว่า พระพุทธองค์เกิดมาตรัสรู้ในยุคนี้ ท่านคิคว่าอะไรเป็นปัญหาใหญ่ของสังคม ที่พุทธองค์จะทรงยื่นมือเข้าแก้ไข...(ตัวอย่างเช่นในยุคของท่าน เรื่องของชนชั้น ที่เป็นปัญหา).." ปัญหาใหญ่ประการแรกได้แก่ ความลุ่มหลงในวัตถุอย่างหนัก ซึ่งเกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย จนยุคนี้ได้ชื่อว่ายุคบริโภคนิยม ประการต่อมาได้แก่ ความรังเกียจเดียดฉันท์ด้วยเหตุผลทางด้านศาสนา ภาษา ผิวสี และอุดมการณ์ ซึ่งนำไปสู่ การข่มเหงคะเนงร้าย ความรุนแรง สงคราม และการก่อการร้าย ที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลกขณะนี้ ประการที่สามก็คือ ความติดยึดในตัวตน ซึ่งระบาดอย่างหนักในปัจจุบัน อันเป็นผลจากทัศนะปัจเจกนิยมแบบสุดโต่ง จนเกิดปัญหาตัวตนมากมาย อาทิ ความรู้สึกแปลกแยกกับตนเอง ความรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยว ความซึมเศร้า นำไปสู่ปัญหาโรคจิต โรคประสาท การติดยา และการฆ่าตัวตาย ยังไม่ต้องพูดถึงความเห็นแก่ตัวอย่างหนัก เอาตนเองเป็นศูนย์กลาง โดยไม่ไยดีกับพันธะทางสังคม หรือความผูกพันภายในครอบครัว ปัญหาเหล่านี้จะว่าไปก็คือ ปัญหาจากตัณหา ทิฏฐิ มานะ ซึ่งเป็นที่มาแห่งความทุกข์ของมนุษย์ทุกยุคทุกสมัย |
|
สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล ในยุคนี้เป็นยุคบริโภคนิยม คนทุกวันนี้มักคิดว่า ความสุขเกิดจากการมี การครอบครองวัตถุ แท้จริงแล้วเราสามารถหาความสุขได้ที่กลางใจ ไม่ต้องไปหาที่ห้างสรรพสินค้า ที่โรงหนัง หรือต้องมีอะไรต่ออะไรมากมาย การที่คนเราคิดว่าความสุขต้องเกิดจากการเสพ การบริโภค ทำให้เกิดความทุกข์ตามมามากมาย |
|
เราจะพัฒนากันต่อไปด้วย...ความรัก สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล เวลาทำงานพัฒนาอย่าคิดแต่เพียงว่า เรากำลังสร้างแค่ถนนหรือกำแพง ที่จริงเรากำลังสร้างชาติ สร้างเมืองไทยให้น่าอยู่ กำลังนำความสุขมาให้แก่พี่น้องประชาชน ไม่สำคัญว่าจะใช้เวลาในการสร้างนานเท่าไร แต่ถ้าวิสัยทัศน์ของเราไปไกล เห็นชัดว่าเมื่อสร้างเสร็จจะเกิดอะไรขึ้นแก่ส่วนรวม ถ้าเรามองไกลแบบนี้ก็จะมีกำลังใจในการทำงาน |
|
ตอบคำถามที่เด็กๆ
สงสัย ธรรมสวัสดี ? ทานนมเปรี้ยว....ที่มีจุลินทรีย์
บาปหรือไม่ |
|
พุทธศาสนาวิวาทะ กับ พระไพศาล วิสาโล นิตยสาร WAY พุทธศาสนามองว่า ประเด็นสำคัญไม่ได้อยู่ที่คำวิพากษ์วิจารณ์ แต่อยู่ที่ท่าทีต่อคำวิพากษ์วิจารณ์ต่างหาก พระพุทธเจ้าตรัสว่า เมื่อมีคนวิจารณ์หรือต่อว่าพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พวกเธออย่าได้อาฆาตแค้นโทมนัสน้อยใจ เพราะถ้าพวกเธอทำเช่นนั้นจะไม่เกิดผลดีอะไรเลย...ถ้าคำตำหนินั้นเป็นจริง ก็ควรแก้ไข ถ้าไม่จริงก็ให้รับรู้ว่าไม่จริง นอกจากนั้นยังตรัสว่า ผู้โกรธตอบคนที่ด่า เลวกว่าคนด่าเสียอีก |
|
อนาคตประเทศไทยในมุมมองพระไพศาล
วิสาโล TEAM GROUP Newsletter หลายคนนำนายว่าปีหน้าและปีต่อๆ ไป บ้านเมืองเราจะเกิดแผ่นดินไหว จะเกิดภัยพิบัติต่างๆ ตามมาอีกมากมาย คนไทยควรเตรียมตัวเตรียมใจอย่างไร เพื่อรับมือกับเหตุการณ์ร้ายๆ ที่จะเกิดขึ้น ตอบ : ส่วนหนึ่งก็คือ อย่าตื่นตระหนก แล้วก็อย่าเพิ่งไปเชื่อข่าวลือพวกนี้ ต้องใช้หลักกาลามสูตร พระพุทธเจ้าบอกอย่าเชื่อเพียงเพราะเสียงร่ำลือ อย่าเชื่อเพียงเพราะผู้พูดนั้นน่าเชื่อถือ แล้วใครที่ว่าเก่งๆ นั้นเมื่อเจ็ดปีที่แล้ว เขาเคยทำนายสึนามิได้ถูกหรือเปล่า แล้วมีหมอดูคนไหนเตือนเรื่องภัยน้ำท่วมอย่างที่เกิดขึ้นมานี้บ้าง ก็มีแต่ว่า พอเกิดแล้วค่อยมาพูดว่าคนโน้นคนนี้พูดว่าจะต้องมีน้ำท่วม แต่ว่าก่อนเกิดมีใครทำนายบ้างไหม ใช้หลัก กาลามสูตร ก็คือ อย่าตื่นกลัว อย่าหลงเชื่อ แต่อย่าประมาท คนไทยเรามักจะเบี่ยงไปทางใดทางหนึ่ง คือถ้าไม่ปล่อยปละละเลยหรือว่านิ่งดูดายก็ตื่นตระหนกตกใจจนระแวงไปเลย ไม่ประมาทคือระวัง ไม่ใช่ระแวง แต่คนไทยจะเบี่ยงไป เรียกว่าชะล่าใจ ถ้าไม่ชะล่าใจก็ระแวงไปเลย ที่ผ่านมาเราชะล่าใจ แต่ตอนนี้เราตื่นตระหนกระแวงแล้ว อาตมาคิดว่าให้มาอยู่ตรงกลางๆ เสีย คือไม่ชะล่าใจ แต่ก็ไม่ระแวง แต่ระวัง ก็คือไม่ประมาท |
|
ความรักและคู่รักที่แท้ ปรับปรุงจากการสัมภาษณ์โดยรายการ พุทธศาสนามองว่าความรักมีสองประเภท ประเภทหนึ่งเป็นความรักที่มีความยึดติดถือมั่น เป็นเจ้าข้าวเจ้าของ เพื่อตอบสนองตัวตน หรือหวังความสุขเพื่อปรนเปรอตัวตน เราเรียกว่า สิเนหะ หรือเสน่หา เป็นความรักที่ภาษาสมัยใหม่เรียกว่ารักแบบมีเงื่อนไข เช่น ต้องถูกใจฉัน ต้องพะเน้าพะนอฉัน ความรักอีกประเภทหนึ่งเป็นความรักที่เป็นความปรารถนาดี ไม่มุ่งหรือคาดหวังให้เขามาปรนเปรอตัวตน เป็นความปรารถนาดีโดยปราศจากความเห็นแก่ตัว อันนี้เรียกว่าเมตตา มีความแตกต่างระหว่างเมตตากับสิเนหะ พุทธศาสนามองว่าสิเนหะเป็นสาเหตุแห่งความทุกข์ เพราะว่าถ้าคาดหวังให้เป็นไปตามใจตัวแล้ว เมื่อไม่เป็นอย่างที่หวังก็ทุกข์ เกิดความพลัดพรากสูญเสียไปก็ทุกข์ แต่เมตตานั้น เนื่องจากไม่มีความยึดติดถือมั่นเป็นเจ้าข้าวเจ้าของ ดังนั้นเขาจะทำอย่างไรกับเรา เราก็ไม่ทุกข์ เพราะว่ามีแต่ความปรารถนาดีอย่างเดียว |
|
GM ฉบับ ๔๐๒ มกราคม ๒๕๕๕ วิพากษ์ยุคสมัยที่เราหยุดแสวงหา เพราะต่างคิดว่าตนได้พบคำตอบ พระไพศาล วิสาโล |
|
GREEN
LIVING สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
![]() |
บันทึกความคิด
ครูสอนดี สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล ในทัศนะของพุทธศาสนา การกระทำใดที่มีเจตนาเพื่อยุติชีวิตหรือทำให้ชีวิตตกล่วงไป ไม่ว่าชีวิตของตนหรือชีวิตของผู้อื่น ถือว่าเป็นอกุศลกรรม จัดว่าเป็นบาป เพราะปุถุชนจะทำกรรมดังกล่าวได้ย่อมต้องมีอกุศลจิตเจือปนอยู่ไม่มากก็น้อย เช่น โทสะหรือความโกรธเกลียด ตัณหาหรือความอยากที่จะไปให้พ้นจากสภาพที่เป็นอยู่ (เรียกว่าวิภวตัณหา) เป็นต้น แม้ผู้กระทำนั้นจะมีเจตนาดีเป็นจุดเริ่มต้น แต่ทันทีที่ตั้งใจทำลายชีวิตหรือทำให้ชีวิตจบสิ้น อกุศลจิตก็เกิดขึ้นทันที ดังนั้นไม่ว่าผู้กระทำการุณยฆาตจะเป็นหมอหรือญาติ ก็ถือว่าได้ทำอกุศลกรรม |
|
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
พระไพศาล วิสาโล 1. เทคโนโลยีกำหนดโลกทัศน์ของผู้ใช้เทคโนโลยี เปรียบเหมือนคนที่มีค้อนอยู่ในมือ ก็จะมุมมองที่เห็นแต่เฉพาะตะปู โฟกัสไปที่หัวตะปู มุ่งไปที่การตอกตะปูตัวนั้น 2. คุณค่าแท้ของเทคโนโลยีรถยนต์คือใช้มันเพื่อการเดินทางไกลแทนเท้า คุณค่าเทียมของมันคือความโก้เก๋ การแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของผู้ขับขี่ โฆษณารถยนต์ในยุคที่มุ่งเน้นคุณค่าเทียม จึงไม่ได้โฆษณาว่ารถคันนี้ช่วยให้คุณไปถึงที่หมายได้อย่างปลอดภัยและประหยัด ยังโฆษณาว่ารถคันนี้ขับแล้วโดดเด่น โก้เก๋ ไม่เหมือนใคร 3. ในอินเทอร์เน็ตมีข่าวสารมากมายบางทีก็อดใจไม่ไหวที่จะเปิดอ่าน แต่ก็ต้องคอยคุมตัวเองไว้ อย่าไปยุ่งกับมันมาก เพราะมันจะดึงดูดเราลึกเข้าไปเรื่อยๆ ข้อมูลข่าวสารที่มากเกินไปแบบนี้ มันจะดึงเราเข้าไปแบบไม่มีวันจบ เราค้นหาข้อมูลได้มากขึ้นเรื่อยๆ ไม่มีวันหมด ไม่มีวันสิ้นสุด 4. มีคนเอาไปพูดล้อกัน "ถ้าอยากรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ให้ถามพระ ถ้าอยากรู้เรื่องธรรมะให้ถามโยม" พระสมัยนี้ไปเดินพันธุ์ทิพย์กันทั้งนั้น นี่ก็เป็นแนวโน้มที่น่าสนใจ และพระสงฆ์ควรจะหาทางใช้งานที่เหมาะสม 5. เราอาศัยแค่เฟซบุคไม่ได้ การรอให้คนมากดไลค์หรือใส่คอมเมนต์เห็นด้วยเท่านั้น ยังไม่มีพลังมากพอที่จะเปลี่ยนแปลงอะไร คนหนุ่มสาวในยุคนี้ต้องลงทุนและลงแรงให้มากกว่านี้ |
|
สัมภาษณ์โดยชาญวิทย์ อร่ามฤทธิ์ |
|
คำกล่าวรับรางวัลนักเขียนอมตะ วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๔ พระไพศาล วิสาโล |
|
ทำไมคนสมัยก่อนบรรลุธรรมได้เร็วกว่าคนสมัยนี้ |
|
จากสันติวิธี สู่ วิถีแห่งมรณสติ สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
บทสัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล ในหนังสือ จิตที่ไม่นิ่งดูดายต่อสังคม หรือความทุกข์ยากของผู้คน และปรารถนาเข้าไปช่วย ไม่ใช่ด้วยการให้ทานให้เงิน แต่ด้วยการสละเวลา ลงแรงเข้าไปช่วย และด้วยจิตที่เป็นสุขที่ได้ช่วยผู้อื่น... |
|
8 คำถามจากอิมเมจ ในโอกาสขึ้นปีที่
๒๔ สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
|
เมืองไทยจะก้าวต่อไปอย่างไรในปี ๕๔ สัมภาษณ์โดยชาญวิทย์ อร่ามฤทธิ์ |
|
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล เราควรเป็นนายของเทคโนโลยี ไม่ใช่เป็นทาสของมัน |
|
"ธรรมยาตรา"
ธรรมะเพื่อธรรมชาติ มูลนิธิโลกสีเขียว อ่านข่าวที่ www.greenworld.or.th |
|
สัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล : ตัดทอนจากเนื้อหาบางส่วนของการสัมภาษณ์ประกอบโครงการวิจัยเรื่อง ความคิดทางจริยธรรมกับการเลือกฝ่ายทางการเมืองของพระสงฆ์ในสังคมไทยปัจจุบัน ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนับสนุนทุนวิจัย(สัมภาษณ์วันที่ 5 ต.ค.53) |
|
ฅ คน Magazine จงเอาชนะความรุนแรงด้วยการไม่เคียดแค้นชิงชัง |
|
สังคมไทยจะเปลี่ยนแปลงได้ต้องกระจายความรักและกระจายอำนาจ สัมภาษณ์โดยสมฤทัย ทรัพย์สมบูรณ์ เมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม
๒๕๕๓ PM
Abhisit must be brave and have a vision: Phra Paisal Abhisit
must be brave and have a vision to bring about concrete change: Phra Paisal |
|
เมื่อพระอวโลกิเตศวรมากรุงเทพฯ เนชั่นสุดสัปดาห์ วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ |
|
พระไพศาล วิสาโล นักเขียน
รางวัลศรีบูรพา นิตยสาร กุลสตรี |
|
เดินเพื่อสันติปัตตานี
ทำไม อย่างไร ประการแรกคือ อยากให้ประชาชนที่อยู่สองข้างทางเกิดความตื่นตัวเรื่องปัญหาความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และช่วยกันผลักดันให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี รวมทั้งช่วยส่งกำลังใจไปให้แก่ผู้คนที่นั่น... ประการที่สอง อยากให้อาสาสมัครที่ร่วมเดินได้ฝึกฝนตนเอง ถือเป็นโอกาสปฏิบัติธรรมไปในตัว ซึ่งจะช่วยให้เกิดความพร้อมเพรียงกันในการทำงานด้านสันติภาพ |
|
ธรรมะกับ"พระไพศาล
วิสาโล" หมวกเหลือง หมวกแดง ทุนนิยม และหมึกพอล? "พระไพศาล วิสาโล" เจ้า อาวาสวัดป่าสุคะโต อำเภอแก้งคร้อ
จังหวัดชัยภูมิ กับอีกบทบาทที่ทำให้เรารู้จักท่านดี คือ พระนักกิจกรรมที่ศึกษาสังคมการเมืองไทยมาตลอด
20 ปี ล่าสุด ท่านได้ถูกเชิญเข้าไปอยู่ในคณะกรรมการปฏิรูป ชุดนายอานันท์
ปันยารชุน อยากรู้ หลวงพี่ คิดอะไร ต้องอ่าน.. |
|
![]() |
Esquire บทสัมภาษณ์ พระไพศาล วิสาโล |
ศรัทธาธรรม เมล็ดพันธุ์แห่งโพธิ นิตยสารสกุลไทย ฉบับที่ 2906 สัมภาษณ์พิเศษ พระไพศาล วิสาโล ศรัณยา เรื่อง / ทวีทรัพย์ ภาพ |
|
รู้สติ วิถีแห่งความสุขในสังคมที่คิดต่าง ตามแนวทางของพระไพศาล วิสาโล นิตยสารหญิงไทย ฉบับที่ ๘๓๓ ปีที่๓๕ |
|
![]() |
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
สังคมที่สงบสุขต้องขับเคลื่อนให้มีความเสมอภาค ยุติธรรม และเป็นประชาธิปไตย สัมภาษณ์พิเศษ มติชนสุดสัปดาห์ |
![]() |
สัมภาษณ์ "พระไพศาล วิสาโล" ความล้มเหลวเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตและการทำงาน เราไม่สามารถปฏิเสธความจริงข้อนี้ได้ อย่างไรก็ดีการทำงานเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมมีหลักอยู่ข้อหนึ่งคือ มันเป็นเรื่องของการสะสมชัยชนะและสรุปบทเรียนไม่หยุดหย่อน ถ้าเราเจ็บปวด แต่ไม่สามารถเก็บเกี่ยวบทเรียนที่เกิดขึ้น เราก็ไม่ได้เรียนรู้อะไรเลย |
![]() |
บางตอนจากการสัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
รักษาใจให้มีสติในยามบ้านเมืองไม่ปกติ สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
เป็นเพราะเราหลงลืม จึงต้องเจ็บปวดกันอีกครั้ง ปรับปรุงจากการสัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
![]() |
เยียวยาิจิตใจ เยียวยาบ้านเมือง ปรับปรุงจากการสัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
จะก้าวข้ามความสูญเสียเจ็บ ปวดไปได้อย่างไร บางตอนจากการสัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
ยุติด้วยธรรม และแ้ก้ปัญหาที่รากเหง้า ปรับปรุงจากการสัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
ตั้งสติ อย่าตื่นตระหนก อย่าแก้แค้นกัน สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
![]() |
ดับไฟในใจ ก่อนดับไฟในบ้านเมือง สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
เรียกร้องให้หยุดฆ่า อย่าท้อถอย สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
หยุดยิง หยุดเปิดช่องให้กองกำลังไม่ทราบฝ่ายก่อความเสียหาย ยิ่งกว่านี้ สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
พระไพศาล วิสาโล พระนักเขียนรางวัล
'ศรีบูรพา' ปี 2553 โดย : พรชัย จันทโสก : รายงาน กรุงเทพธุรกิจ : วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๓ Life Style : Read & Write |
|
สัมภาษณ์โดย เด่น นาคร |
|
ก่อนจะเป็นนักเขียนรางวัลศรีบูรพา สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
บนเส้นทางชีวิตและงานของพระไพศาล วิสาโล ปรับปรุงจากการสัมภาษณ์โดยเด่น นาคร |
|
GM - good
death เรียบเรียง วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ |
|
a day BULLETIN
- issue 91 Make
Peace Not War สัมภาษณ์:วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม |
|
ต้องยอมถอยคนละก้าว ก่อนจะสูญเสียมากกว่านี้
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
คืนความเป็นมนุษย์ให้แก่กันและกัน (ปรับปรุงจากการสัมภาษณ์ของพระไพศาล วิสาโล |
|
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
![]() |
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
|
![]() |
ท่าทีชาวพุทธในสถานการณ์ขัดแย้ง สัมภาษณ์โดยสถานีวิทยุ ๙๑๙ |
![]() |
คอลัมน์สัมภาษณ์ แพรว ๒๕ พ.ค. ๒๕๕๐ ขันติธรรมค้ำจุนชาติ เรื่อง ศิริน ภาพ อิทธิศักดิ์ ผู้ช่วย ภานพ นาคะประวิง |
![]() |
รายการเช้าข่าวข้น
ช่อง 9 สัมภาษณ์พระไพศาล วิสาโล |
LIPS
vol. 11 no. 12 December 2009 เมื่อขึ้นปีใหม่ทุกคนก็อยากมีชีวิตใหม่ที่ดีกว่าเดิม อย่างที่เราเข้าใจก็มักจะเป็นการเกิดสิ่งดีๆ สิ่งใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ เช่น มีงานใหม่ มีตำแหน่งใหม่ที่ดี แต่อาตมาคิดว่าชีวิตใหม่ที่แท้จริงมาจากภายใน ถ้าเราอยากมีชีวิตใหม่ต้องพยายามสร้างให้เกิดสิ่งใหม่ขึ้นในจิตใจของเรา เช่นมีสติมากขึ้น มีเมตตากรุณามากขึ้น มีปัญญามากขึ้น มีความอดกลั้นต่ออารมณ์มากขึ้น ถ้าเราสร้างสิ่งดีๆ ให้เกิดขึ้นกับจิตใจจะทำให้เกิดชีวิตใหม่ที่แท้จริง |
|
![]() |
ฅ คน ฉบับที่ ๕๐ ธันวาคม ๒๕๕๒ ปัจฉิมกถาพระไพศาล วิสาโล
เราทุกข์ง่าย เพราะคิดถึงตัวเอง จะทุกข์น้อยลง... เมื่อได้นึกถึงผู้อื่น |
![]() |
นิตยสารขวัญเรือน VOL.914 พุทธธรรม นำชีวิต
พุทธธรรม ของพระพรหม-คุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) คือหนังสือที่พระไพศาลยกย่อง ถึงขั้นที่ว่าถ้ามีหนังสือเพียงเล่มเดียวที่สามารถติดตัวไปได้ในชีวิต พุทธธรรม คือเล่มที่ท่านเลือก |
ความตายและความหมายของชีวิต
| |
|
![]() |
Main course 108 ทำไมสัตว์โลกถึงเป็นไปตามกรรม
? เรื่อง
ทรงกลด บางยี่ขัน พระพุทธองค์ไม่เคยตรัสเรื่องกฎแห่งกรรม |
นสพ.กรุงเทพธุรกิจ คอลัมน์จุดประกาย-เสาร์สวัสดี ติดใจการเทศน์หรือ ไม่มีหรอก เพราะเทศน์ไม่ได้เรื่องอยู่แล้ว (หัวเราะ) ตั้งแต่ไหนแต่ไร ส่วนใหญ่มีบ้างที่สนใจงานเขียน แต่งานเขียนกับตัวจริงก็คนละเรื่องกัน จริงๆ แล้วอาตมาเป็นคนเทศน์ไม่ค่อยเก่ง เสียงไม่เพราะ ชอบพูดเรื่องง่ายให้เป็นเรื่องยาก จึงไม่มีปัญหาเรื่องใครจะติดอกติดใจ "ที่นี่ไม่ค่อยมีเงินบริจาคหรอก อาตมาไม่มีวาสนาเรื่องลาภสักการะ บางคนหาว่าอาตมาเป็นพระการเมือง พระนักพัฒนา พระเอ็นจีโอ ชีวิตอาตมาแค่พระอย่างเดียว ก็เป็นเกียรติกับชีวิตแล้ว ไม่มีอะไรสูงสุดกว่าการเป็นพระ ที่เหลือเป็นส่วนเกิน" |
|
![]() |
รายการ : คุยนอกรอบ |
![]() |
นิตยสาร ขวัญเรือน โครงการที่จะช่วยให้ผู้คนบรรลุถึงความสุขที่แท้ คือความสุขที่เกิดจากการมีทัศนคติที่ถูกต้อง รู้เท่าทันความจริงของชีวิตและโลก สามารถคิดถูกคิดชอบ และรู้จักแก้ทุกข์ด้วยปัญญา รวมทั้งมีความสุขจากการดำเนินชีวิตถูกต้องดีงาม จากการเป็นผู้ให้ และการทำความดีเพื่อคนอื่นหรือส่วนรวม |
ประเด็นความตาย |
|
![]() |
โรงเรียนรุ่งอรุณสัมภาษณ์ วันที่ ๘ กรฏาคม ๒๕๕๐ โดย โรงเรียนรุ่งอรุณ รุ่งอรุณแห่งการศึกษา |
Interview / vol. 22
ธรรมะสนทนา - สัมมาอาชีวะ บายไลน์ - Text : พรเทพ เฮง / สันติสุข กาญจนประกร |
|
a day weekly ประเทศไทยไม่ใช่ของเรา?
|
|
สัมภาษณ์พิเศษ |
|
![]() |
สัมภาษณ์เตรียมตัวตายอย่างมีสติ วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ : สัมภาษณ์ หลายคนอาจนึกบ่นในใจว่า จะบ้าหรือ ชีวิตทุกวันนี้ก็เครียดอยู่แล้ว
ยังเอาเรื่องน่าหดหู่มาให้อ่านกันอีก ความตายเป็นมิติลึกลับที่ไม่ค่อยมีใครอยากรู้จัก
ทั้ง ๆที่ความตายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต |
สาละวินโพสต์สัมภาษณ์
คอลัมน์ครั้งหนึ่งในความทรงจำฉบับ ๔๙ เราต้องสลัดภาพคนพม่าเป็นศัตรูทิ้งไป |
|
รวบรวมงานเขียนและบทความของพระไพศาล
วิสาโล www.visalo.org korobiznet
เอื้อเฟื้อพื้นที่
|